องค์ความรู้ด้านจริยธรรม
ประมวลองค์ความรู้ที่ดำเนินการโดยศูนย์ส่งเสริมจริยธรรม สำนักงาน ก.พ. อันประกอบด้วย กฏหมาย คู่มือ การศึกษาวิจัย หนังสือ บทความทางวิชาการและการบรรยายหรือปาฐกถาในโอกาสสำคัญต่างๆ เป็นต้น
กฎหมาย หนังสือเวียนและมติคณะรัฐมนตรีที่เกี่ยวข้อง
- ว2/2550 กำหนดแนวทางการดำเนินการตามวาระแห่งชาติด้านจริยธรรม ธรรมาภิบาลและการป้องกันการทุจริตและประพฤติมิชอบในภาครัฐ
- ว32/2552 ประมวลจริยธรรมข้าราชการพลเรือน
- ว28/2553 การจัดตั้งกลุ่มงานคุ้มครองจริยธรรมตามประมวลจริยธรรมข้าราชการพลเรือน
- ว47/2553 เครื่องมือวัดความโปร่งใสและตรวจสอบได้ของส่วนราชการ
- ว6/2555 การแต่งตั้งคณะกรรมการจริยธรรมประจำส่วนราชการ
- ว11/2557 แนวทางการส่งเสริมการปฏิบัติตามประมวลจริยธรรม กรณีการเรี่ยไรและการให้หรือรับของขวัญหรือประโยชน์อื่นใด
- ประมวลข้อมูลนโยบายรัฐบาล มติคณะรัฐมนตรีและกฏหมายที่เกี่ยวข้อง
คู่มือและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริมจริยธรรม
- บทคัดย่อการศึกษาวิจัย
- รายงานการวิจัยฉบับบสมบูรณ์
- รายงานฉบับสมบูรณ์ 2553, โครงการสร้างเครื่องมือประเมินเพื่อพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม และความโปร่งใสขององค์กร
- รายงานสถานภาพการปฏิบัติตามประมวลจริยธรรมข้าราชการพลเรือน ประจำปี พ.ศ. 2556
- สรุปผลการติดตามและประเมินผลการปฏิบัติตามมาตรฐานทางจริยธรรมข้าราชการพลเรือน ประจำปีงบประมาณ 2559
- รายงานผลการสำรวจทัศนคติของประชาชนและเจ้าหน้าที่ของรัฐที่มีต่อค่านิยมหรือมาตรฐานทางจริยธรรมของข้าราชการและเจ้าหน้าที่ของรัฐ
- คู่มือ
หลักสูตรการฝึกอบรม
หนังสือ
- พระบรมราโชวาทของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
- ประมวลจริยธรรมข้าราชการพลเรือน (ฉบับภาษาไทย/ฉบับภาษาอังกฤษ)
- มาตรฐานทางจริยธรรมสำหรับเเจ้าหน้าที่ภาครัฐ
- คุณธรรมจริยธรรมของผู้บริหาร (นายธานนินทร์ กรัยวิเชียร)
ปาฐกถาพิเศษ
- ปาฐกถาพิเศษงานวันคุณธรรม จริยธรรมและความโปร่งใสในภาครัฐ ปี 2558โดย นายวิษณุ เครืองาม
- การบรรยายเรื่อง ปรัชญา และแนวคิดหลักเกี่ยวกับจริยธรรม โดย นายประวีณ ณ นคร
- การปาฐกถาเรื่อง"ประมวลจริยธรรมข้าราชการพลเรือน" โดย ศ.ดร.บวรศักดิ์ อุวรรณโณ
- การปาฐกถาเรื่อง "การเสริมสร้างคุณธรรมจริยธรรมและธรรมาภิบาลของข้าราชการ" โดย นายธีรยุทธ์ หล่อเลิศรัตน์
- การบรรยายเรื่อง "ไขข้อข้องใจ ทำอย่างไรเมือพบหรือสงสัยว่าฝ่าฝืนจริยธรรม " โดย นายสุวรรณ ชนะสงคราม
- การบรรยาย เรื่อง "พัฒนาจริยธรรมอย่างไรจึงจะได้ประสิทธิผล " โดย ศาสตราจารย์ ดร.ชัยพร วิชชาวุธ
- การบรรยาย เรื่อง "ประสบการณ์และข้อเสนอแนะในการนำพฤติกรรมทางจริยธรรมไปบังคับใช้ " โดย อาจารย์ชวัลณัฐ เหล่าพูนพัฒน์
บทความทางวิชาการ
- เรื่อง อุทาหรณ์ก่อนทำผิด : ชู้กับวินัย
- เรื่อง ถอดบทเรียนการส่งเสริมจริยธรรม : ผลสำเร็จจากภาคเอกชนสู่การพัฒนาจริยธรรมในภาครัฐ
- เรื่อง ความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์กร
- เรื่อง การส่งเสริมการสร้างวัฒนธรรมเชิงจริยธรรมในองค์กร
- เรื่อง พัฒนาข้าราชการไทยให้พ้นคอรับปชั่น
- เรื่อง รวมพลังข้าราชการไทยสู้ภัยคอร์รัปชัน
- เรื่อง จริยธรรมผู้นำ : บทเรียนจากลังกาวี
- เรื่อง Case studies " ช่วยชี้ประเด็นจริยธรรม
- เรื่อง ระบบคุณธรรมของข้าราการญี่ปุ่น
- เรื่อง เมื่อข้าราชการสร้างประมวลจริยธรรม
รายงานการฝึกอบรม/ศึกษาดูงาน
- หลักสูตรฝึกอบรมวิทยากรและการนำเสนอเพื่อเผยแพร่และขยายผลการพัฒนาตามแนวพระราชดำริและปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
- หลักสูตร Transparency and Good Governance in Public Service ณ ประเทศสิงคโปร์
สื่อเพื่อการรณรงค์ส่งเสริมจริยธรรม
- โปสเตอร์
- มาตรา 3 คำนิยาม หน่วยงานของรัฐ
- มาตรา 3 คำนิยาม เจ้าหน้าที่ของรัฐ
- มาตรา 5 มาตรฐานทางจริยธรรม
- มาตรา 8 คณะกรรมการมาตรฐานทางจริยธรรม (ก.ม.จ.)
- มาตรา 19 การรักษาจริยธรรมของเจ้าหน้าที่ของรัฐ หน้าที่ของหน่วยงานของรัฐ
- มาตรา 20 การรักษาจริยธรรมของเจ้าหน้าที่ของรัฐ หน้าที่ขององค์กรการบริหารงานบุคคล
- มาตรา 76 วรรค 3 และ 219 มาตรฐานทางจริยธรรมตามรัฐธรรมนูญฯ พ.ศ.2560
- Infographic
- มาตรา 3 คำนิยาม หน่วยงานของรัฐ
- มาตรา 3 คำนิยาม เจ้าหน้าที่ของรัฐ
- มาตรา 5 มาตรฐานทางจริยธรรม
- มาตรา 8 คณะกรรมการมาตรฐานทางจริยธรรม (ก.ม.จ.)
- มาตรา 19 การรักษาจริยธรรมของเจ้าหน้าที่ของรัฐ หน้าที่ของหน่วยงานของรัฐ
- มาตรา 20 การรักษาจริยธรรมของเจ้าหน้าที่ของรัฐ หน้าที่ขององค์กรการบริหารงานบุคคล
- มาตรา 76 วรรค 3 และ 219 มาตรฐานทางจริยธรรมตามรัฐธรรมนูญฯ พ.ศ.2560
- มาตรฐานทางจริยธรรม ประการที่ 1 : ยึดมั่นในสถาบันหลักของประเทศอันได้แก่ ชาติ ศาสนา พระมาหากษัตริย์ และการปกครองระบบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
- มาตรฐานทางจริยธรรม ประการที่ 2 : ซื่อสัตย์สุจริต มีจิตสำนึกที่ดี และความรับผิดชอบต่อหน้าที่
- มาตรฐานทางจริยธรรม ประการที่ 3 : กล้าตัดสินใจ และกระทำในสิ่งที่ถูกต้อง ชอบธรรม
- มาตรฐานทางจริยธรรม ประการที่ 4 : คิดถึงประโยชน์ส่วนรวมมากกว่าประโยชน์ส่วนตัว และมีจิตสาธารณะ
- มาตรฐานทางจริยธรรม ประการที่ 5 : มุ่งผลสัมฤทธิ์ของงาน
- มาตรฐานทางจริยธรรม ประการที่ 6 : ปฏิบัติหน้าที่อย่างเป็นธรรมและไม่เลือกปฏิบัติ
- มาตรฐานทางจริยธรรม ประการที่ 7 : ดำรงตนเป็นแบบอย่างที่ดี และรักษาภาพลักษณ์ของทางราชการ
- วีดิทัศน์
- ตอนที่ 1 ยึดมั่นในสถาบันหลักของประเทศ
- ตอนที่ 2 ซื่อสัตย์สุจริต มีจิตสำนึกที่ดี และความรับผิดชอบต่อหน้าที่
- ตอนที่ 3 ยืนหยัดในสิ่งที่ถูกต้อง ชอบธรรม
- ตอนที่ 4 ยึดถือประโยชน์ส่วนรวมเป็นที่ตั้ง
- ตอนที่ 5 มุ่งผลสัมฤทธิ์ของงาน
- ตอนที่ 6 ไม่เลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรม
- ตอนที่ 7 ดำรงตนเป็นแบบอย่างที่ดี และรักษาภาพลักษณ์ของทางราชการ
- สปอตโทรทัศน์
- ตอนที่ 1 ยึดมั่นในสถาบันหลักของประเทศ
- ตอนที่ 2 ซื่อสัตย์สุจริต มีจิตสำนึกที่ดี และความรับผิดชอบต่อหน้าที่
- ตอนที่ 3 ยืนหยัดในสิ่งที่ถูกต้อง ชอบธรรม
- ตอนที่ 4 ยึดถือประโยชน์ส่วนรวมเป็นที่ตั้ง
- ตอนที่ 5 มุ่งผลสัมฤทธิ์ของงาน
- ตอนที่ 6 ไม่เลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรม
- ตอนที่ 7 ดำรงตนเป็นแบบอย่างที่ดี และรักษาภาพลักษณ์ของทางราชการ
- สปอตวิทยุ
- Motion Graphic
- ตอนที่ 1 คำนิยาม ตามมาตรา 3 หน่วยงานของรัฐ
- ตอนที่ 2 คำนิยาม ตามมาตรา 3 เจ้าหน้าที่ของรัฐ
- ตอนที่ 3 มาตรฐานทางจริยธรรม ตามมาตรา 5
- ตอนที่ 4 คณะกรรมการมาตรฐานทางจริยธรรม (ก.ม.จ.) ตามมาตรา 8
- ตอนที่ 5 การรักษาจริยธรรมของเจ้าหน้าที่ของรัฐ ตามมาตรา 19
- ตอนที่ 6 การรักษาจริยธรรมของเจ้าหน้าที่ของรัฐ ตามมาตรา 20
- ตอนที่ 7 มาตรฐานทางจริยธรรมของตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ ตามมาตรา 76 วรรค 3 และ มาตรา 219
- 17912 reads